Save Time 15
Knowledge
นางสาวรัชดา เทพเรียน
เรื่อง : หลักสูตรปฐมวัยมีความจำเป็นหรือไม่
การเรียนวิทยาศาตร์ของเด็กปฐมวัน ไม่ได้มุ่งเน้นที่เนื้อหาแต่มุ่งเน้นกระบวนการเกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากตัวเด็ก จากการสังเกตความอยากรู้อยากเห็นและการแก้ปัญหาในสถานการณ์นั้นๆ
นางสาวเปมิกา ชุติมาสวรรค์
เรื่อง : วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เด็กเป็นบุคคลที่มีความอยากรู้อยากเห็น และช่างสังเกตสิ่งรอบตัวชอบแสวงหาความรู้อย่างอิสระจนไปสู่ปัญหาและการแก้ปัญา ซึ่งเป็นตัวนำสู่การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์
นางสาวชณาภา คะปัญญา
เรื่อง : การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย
หลักในการเลือกเนื้อหามีดังนี้
1. ขอบเขตเนื้อหาวิทยาศาสตร์
2. ความเหมาะสมกับพัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ของเด็ก
3. สามารถนำไปปฏิบัติจริงได้
การพัฒนาแนวคิด(มโนทัศน์)
- โดยการจัดประสบการณ์ที่หลากหลาย
- ใช้การต้งคำถาม
- การทดลอง
- การสงเกตและการหาข้อสรุป
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัยควรส่งเสริมด้านต่างๆดังนี้
- สนับสนุนและส่งเสริมความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก
- สนับสนุนและส่งเสริมความต้องการในการตั้งคำถาม
- ส่งเสริมการใช้ประสาทสัมผัสในการเรียนรู้ สำรวจ ตรวจสอบ จำแนกสิ่งต่างๆ
- ส่งเสริมกระบวนการคิด
- ส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์
- ส่งเสริมความสนใจในการดูแลและรับผิดชอบต่อสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัว
- เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความรู้สึกชื่นชมยินดีในธรรมชาติ
การสร้างความตระหนัก
- เราต้องการค้นหาอะไร
- เราจะทำอะไรได้บ้างเพื่อการค้นหานี้
- เราเห็นอะไรเกิดขึ้นบ้าง
- สิ่งต่างๆเหล่านี้บอกอะไรแก่เราบ้าง
นางสาวชนากานต์ แสนสุข
เรื่อง : สอนลูกเรื่องอากาศ
การจัดกิจกรรม เกี่ยวกับอากาศ ซึ่งบอกถึงลักษณะของอากาศ ที่ไม่มีสี ไม่มีรสชาติ และกลิ่น เป็นก๊าซที่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิตซึ่งเรียกว่า "ก๊าซออกซิเจน"
นางสาวประภัสสร คำบอนิทักษ์
]
เรื่อง : การพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของ
นางสาวจงรักษ์ หลาวเหล็ก
เรื่อง : ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ
การจัดกระบวนการวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน (ปริญญานิพนธ์ ของ สุมาลี หมวดไธสง)
นางสาวกรกช เดชประเสริฐ
เรื่อง : พัฒนาการสังเกตเป็นพื้นฐานสำคัญทางวิทยาศาสตร์
(เรื่อง ไข่)ให้เด็กสังเกตไข่ที่ครูเตรียมมา 2 ใบ ถ้าครูโยนไข่ 2 ใบ พร้อมๆกัน จะเกิดอะไรขึ้นกับไข่ 2 ใบนั้น จากนั้นก็ทำการโยนไข่แล้วให้เด็กสังเกต ผลการทดลองพบว่า ไข่ 1 ใบ ไม่แตก เด็กจึงทราบว่า ไข่ใบนั้นเป็นไข่ต้ม นั่นเอง
(เรื่อง น้ำมัน ) ให้เด็กเอาน้ำมันทาที่กระดาษ ซึ่งมีน้ำมันอยู่ 2 ชนิดคือ น้ำมันพืช และ น้ำมันหมู จากนั้นให้เด็กสังเกตการเปลี่ยนแปลงของกระดาษ ปรากฎว่าน้ำมันหมูทึบแสง น้ำมันพืชโปร่งเเสง
Skill
- การตอบคำถาม และทักษะการคิดแก้ปัญหาจากงานวิจัยและบทความ
Apply
- นำไปใช้ในการเรียนการสอนใจอนาคต
Teaching Techniques
- เทคนิคการทำขนมและขั้นตอน การทำขนม
Evaluation
- Teacher : เทคนิคการถามตอบเพื่อกระตุ้นผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
- Friends : ร่วมมือและตั้งใจกักันตอบคำถามดี
- Self : เข้าเรียนตรงเวลาและแต่ไม่ค่อยตั้งใจเรียนเท่าที่ควรเนื่องจากไม่สบาย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น